Blogs

Sort

Dry eyes

Dry eyes Tears play a crucial role in keeping our eyes moist, ensuring clear vision by letting light effectively pass through the eye's lens, and supplying oxygen to nourish the eye. They also help fend off infections and keep foreign substances at bay.   Now, when it comes to dry eyes, it's a pretty common issue that can stem from abnormal tear production or tears evaporating too quickly. This can lead to discomfort, irritation, that feeling like there's something foreign in your eye, redness, pain, blurry vision that gets better with blinking, or even feeling like your eyes are tired and heavy. What causes dry eyes can vary—getting older, being a woman (yeah, we're more prone to it), certain allergy medications, spending loads of time on screens, being in places with dust and smoke, gusty winds, and bright lights, they can all have a hand in it.   But hey, the good news is there are ways to tackle dry eyes:   Keep away from things that can make it worse, like strong winds and dust, by popping on some sunglasses and protecting those peepers. Remember to take breaks or blink more often, especially when you're glued to screens for a while. You've got these cool eye drops called artificial tears. There's a type for daytime (more watery) and nighttime (a bit thicker). Which one to use depends on how serious your dry eye situation is. Sometimes your doc might suggest special eye drops that encourage your eyes to make more tears. Give your eyes a treat with warm, clean cloths over your closed eyelids to help them feel better. If the dry eye struggle is real and isn't improving, it's wise to chat with an eye doctor.   All in all, dry eyes can be a bother, but there are solutions out there. It's important to take good care of your eyes, especially when it's all dry outside. If you suspect you've got dry eyes, having a chat with an eye care expert is a smart move.      
Read More
Cornea Center

Excessive Eye Discharge: Causes and Treatment | Bangkok Eye Hospital

Understanding Excessive Eye Discharge Excessive eye discharge, or abnormal eye mucus, can be a sign of an underlying eye condition, such as infections, allergies, or dry eyes. While some discharge is normal, persistent or excessive mucus buildup may indicate a need for medical attention. At Bangkok Eye Hospital, we specialize in diagnosing and treating eye discharge to ensure optimal eye health. Common Causes of Excessive Eye Discharge What Triggers Eye Discharge? Bacterial or Viral Infections – Conjunctivitis (pink eye) is a common cause. Allergic Reactions – Seasonal allergies can lead to watery, mucus-like discharge. Dry Eyes – Insufficient tear production can result in thicker eye discharge. Blocked Tear Ducts – Prevents proper drainage, leading to mucus buildup. Foreign Particles in the Eye – Dust or debris can cause irritation and discharge. Who Is at Risk? People with frequent allergies or sinus issues. Contact lens users who may have poor lens hygiene. Individuals exposed to pollutants or irritants. Those with weakened immune systems prone to infections. Symptoms Associated with Excessive Eye Discharge Thick, yellow, or green mucus around the eyes. Crusty eyelids upon waking up. Redness and irritation in the eyes. Blurred vision due to sticky discharge. Increased tear production or watery eyes. Diagnosis and Treatment Options How Is Excessive Eye Discharge Diagnosed? Comprehensive Eye Examination – Identifies infection or inflammation. Tear Duct Evaluation – Checks for blockages. Allergy Testing – Determines if allergies are the cause. Treatment for Excessive Eye Discharge Antibiotic or Antiviral Eye Drops – Used for bacterial or viral infections. Antihistamines – Helps reduce allergy-related discharge. Artificial Tears – Relieves dry eye symptoms. Warm Compresses – Helps loosen crusty buildup. Proper Eyelid Hygiene – Prevents bacteria accumulation. Preventing Excessive Eye Discharge Practice good eye hygiene by washing hands before touching eyes. Avoid rubbing your eyes to reduce irritation and infection risks. Clean contact lenses properly and avoid overuse. Protect your eyes from dust and allergens. Seek medical care early if symptoms persist or worsen. Why Choose Bangkok Eye Hospital for Eye Discharge Treatment? Expert Ophthalmologists specializing in eye infections and allergies. State-of-the-Art Diagnostic Equipment for precise treatment. Comprehensive Eye Care Services tailored to each patient’s needs. Personalized Treatment Plans for long-term eye health. Schedule an Appointment Today If you are experiencing excessive eye discharge or other eye-related symptoms, contact Bangkok Eye Hospital for expert diagnosis and treatment.
Cornea Center

Shingles Eye Symptoms, Causes & Treatment | Bangkok Eye Hospital

Understanding Shingles in the Eye Shingles, or herpes zoster ophthalmicus, is a viral infection caused by the varicella-zoster virus, the same virus responsible for chickenpox. When reactivated, it can affect the eye, leading to painful rashes, vision problems, and potential complications. At Bangkok Eye Hospital, we provide expert diagnosis and treatment for shingles affecting the eye to prevent long-term damage. Causes and Risk Factors What Causes Shingles in the Eye? Varicella-Zoster Virus Reactivation – After a previous chickenpox infection, the virus can remain dormant and later reactivate as shingles. Weakened Immune System – Conditions like aging, stress, or illness can trigger an outbreak. Direct Nerve Involvement – The virus travels along nerve pathways, leading to eye involvement. Who Is at Risk? Individuals over 50 years old – Higher risk due to a weakened immune response. People with weakened immune systems – Those with conditions like HIV, cancer, or taking immunosuppressive medications. Previous Chickenpox Infection – If you've had chickenpox, the virus can reactivate as shingles. Symptoms of Shingles in the Eye Painful rash and blisters around the eye, forehead, or nose. Redness and swelling in or around the eye. Blurred vision or light sensitivity. Burning or itching sensation in the affected area. Severe eye pain that may persist even after the rash heals. Diagnosis and Treatment Options How Is Shingles in the Eye Diagnosed? Clinical Examination – A doctor examines the skin rash and eye symptoms. Fluorescein Eye Staining – Identifies corneal damage. Polymerase Chain Reaction (PCR) Test – Detects the virus in severe cases. How Is Shingles in the Eye Treated? Antiviral Medications – Early treatment with antivirals like acyclovir or valacyclovir reduces severity. Corticosteroid Eye Drops – Help manage inflammation and swelling. Pain Relievers – To reduce discomfort and nerve pain. Lubricating Eye Drops – Prevent dryness and irritation. Potential Complications If left untreated, shingles in the eye can cause: Corneal ulcers and scarring. Vision loss or permanent eye damage. Glaucoma due to increased eye pressure. Chronic nerve pain (postherpetic neuralgia). Preventing Shingles in the Eye Get the shingles vaccine (especially for those over 50). Maintain a healthy immune system through proper diet and exercise. Avoid contact with people who have active chickenpox or shingles. Seek medical attention immediately if symptoms appear to prevent complications. Why Choose Bangkok Eye Hospital for Shingles Treatment? Experienced Ophthalmologists specializing in viral eye infections. Advanced Diagnostic Tools for early and accurate detection. Comprehensive Treatment Plans tailored to each patient. Preventive Care & Vaccination Guidance to reduce future risks. Schedule an Eye Consultation Today If you are experiencing eye pain, rash, or vision problems related to shingles, contact Bangkok Eye Hospital for immediate medical attention.
Cornea Center

Allergic Conjunctivitis | Bangkok Eye Hospital

เยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis) เป็นภาวะที่พบได้บ่อยและอาจเกิดขึ้นได้กับทุกวัย ไม่ว่าจะเป็นจากการติดเชื้อ แพ้ หรือสิ่งกระตุ้นอื่นๆ อาการของเยื่อบุตาอักเสบอาจทำให้รู้สึกไม่สบายตา แสบตา หรือมีขี้ตาผิดปกติ บทความนี้พามาสังเกตสัญญาณเตือน ที่บอกว่าเยื่อบุตาอักเสบอาจรุนแรงและต้องพบแพทย์โดยด่วน พร้อมข้อควรปฏิบัติและวิธีรักษาที่ถูกต้อง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ เยื่อบุตาอักเสบคือการอักเสบของเยื่อบางๆ ที่ปกคลุมดวงตาส่วนหน้าและด้านในของเปลือกตา ติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำตาที่ปนเปื้อนเชื้อ ไม่ใช่ผ่านการมอง อากาศ หรือการรับประทานอาหารร่วมกัน สาเหตุจากเชื้อไวรัสอาจทำให้มีอาการเจ็บคอ ไข้สูง และหายใจเหนื่อย พบบ่อยในเด็กเล็กที่ชอบหยิบจับสิ่งของแล้วขยี้ตา หรือสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียที่มักจะแพร่กระจายผ่านการสัมผัสตาหรือสิ่งที่มีเชื้อปนเปื้อน ยังมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ อย่างสารเคมีในเครื่องสำอาง น้ำยาล้างคอนแท็กต์เลนส์ การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน ภูมิแพ้ฝุ่น PM2.5 ควันพิษ และแว่นตาที่ไม่สะอาด วิธีรักษาเยื่อบุตาอักเสบสามารถทำได้โดยการหยอดน้ำตาเทียม ใช้ยาแก้แพ้ ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านไวรัสตามสาเหตุ แล้วพักการใช้สายตา งดขยี้ตา และหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องสำอางและคอนแท็กต์เลนส์ วิธีป้องกันทำได้ด้วยการล้างมือให้สะอาด หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วย งดใช้สิ่งของร่วมกัน ไม่ใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตาและใบหน้า เยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis) คืออะไร? เนื้อเยื่อบุตาอักเสบ หรือ Conjunctivitis คือการอักเสบของเยื่อบางๆ ที่ปกคลุมดวงตาส่วนหน้าและด้านในของเปลือกตา การติดต่อเกิดจากการสัมผัสน้ำตาผ่านมือหรือสิ่งของที่ปนเปื้อนเชื้อแล้วไปสัมผัสตา แต่ไม่ติดต่อผ่านการมอง อากาศ หรือการรับประทานอาหารร่วมกัน มักระบาดในฤดูฝนตามชุมชนที่มีคนอยู่รวมกัน เช่น โรงเรียน สถานรับเลี้ยงเด็ก ที่ทำงาน และสระว่ายน้ำ พบได้ทุกช่วงอายุ โดยระบาดในเด็กได้ง่ายกว่าเพราะขาดความรู้ในการป้องกัน อย่างไรก็ตาม โรคนี้ไม่รุนแรงและสามารถหายเองได้     อาการที่สังเกตได้ของเยื่อบุตาอักเสบ อาการของโรคนี้จะปรากฏหลังสัมผัสเชื้อทางตา 1 - 2 วัน โดยเยื่อบุตาจะเกิดการอักเสบ บวม เคืองตา น้ำตาไหล เจ็บตา และมีขี้ตามาก ซึ่งอาจเป็นเมือกใสหรือสีเหลืองอ่อนหากมีการติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย มักเป็นที่ตาข้างใดข้างหนึ่งก่อนแต่มักแพร่ไปอีกข้างได้ง่าย อาการจะรุนแรงในช่วง 4 - 7 วันแรก และหายได้เองภายใน 7 - 14 วัน การรักษาเน้นตามอาการและป้องกันการแพร่เชื้อ โดยใช้ยาปฏิชีวนะหากมีขี้ตามาก และยาลดไข้หรือยาแก้ปวดหากมีอาการทางระบบ สาเหตุของภาวะเยื่อบุตาอักเสบ โรคเนื้อเยื่อบุตาอักเสบมีสาเหตุที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย ดังนี้     ติดเชื้อไวรัส อาการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส โดยเฉพาะเชื้อไวรัสอะดีโน (Adenovirus) มักทำให้เกิดอาการเจ็บคอ ไข้สูง และบางครั้งมีอาการหายใจเหนื่อย สามารถติดต่อผ่านการสัมผัสโดยเฉพาะในเด็กเล็กที่ชอบหยิบจับสิ่งของรอบตัว เชื้อจะติดมากับมือแล้วเด็กอาจเผลอสัมผัสบริเวณใบหน้าหรือขยี้ตา ทำให้เด็กเป็นโรคเยื่อบุตาอักเสบได้ง่ายและพบบ่อยกว่าในผู้ใหญ่     ติดเชื้อแบคทีเรีย การเชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่น สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus Aureus) และสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี (Streptococcus Pneumoniae) ก่อให้เกิดโรคเยื่อบุตาอักเสบได้ โดยแพร่กระจายผ่านการสัมผัสตาหรือสิ่งที่มีเชื้อปนเปื้อน ผู้ที่สัมผัสน้ำมูกหรือน้ำตาจากผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูง นอกจากนี้ ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ยังรวมถึงการสัมผัสสารเคมีในเครื่องสำอางหรือน้ำยาล้างคอนแท็กต์เลนส์ การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในร่างกาย ภาวะภูมิแพ้โดยเฉพาะต่อฝุ่น PM2.5 และสภาพแวดล้อมที่มีควันหรือการใช้แว่นตาที่ไม่สะอาด อาการที่พบได้แก่ ตาแดง ตามัว ตามีขี้ตา และการระคายเคืองในตา เยื่อบุตาอักเสบหายเองได้ไหม ใช้เวลานานเท่าไร เยื่อบุตาอักเสบหายเองได้ไหม? กรณีที่เกิดจากไวรัสมักหายได้เองภายใน 7 - 14 วัน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ยา แต่หากมีสาเหตุจากแบคทีเรีย อาจจำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยให้หายเร็วขึ้นและป้องกันภาวะแทรกซ้อน สำหรับเยื่อบุตาอักเสบที่เกิดจากอาการแพ้ สภาวะจะดีขึ้นเมื่อหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และใช้ยาต้านฮีสตามีนตามคำแนะนำของแพทย์     เยื่อบุตาอักเสบมีวิธีการรักษาอย่างไร วิธีการรักษาเยื่อบุตาอักเสบสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ การหยอดน้ำตาเทียมเพื่อช่วยลดการระคายเคืองตา การใช้ยาแก้แพ้ชนิดรับประทานและยาแก้แพ้หยอดตา ในกรณีที่มีสาเหตุจากเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้ หากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียจะต้องใช้ยาปฏิชีวนะหยอดตาหรือขี้ผึ้งป้ายตา ในรายที่มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสจะใช้ยาต้านไวรัสชนิดรับประทาน นอกจากนี้ การรักษาควรทำควบคู่ไปกับการพักใช้สายตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตาหรือใส่เลนส์สัมผัส รวมถึงหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องสำอางและคอนแท็กต์เลนส์ชั่วคราว เพื่อป้องกันสิ่งระคายเคืองตาและช่วยให้อาการหายเร็วขึ้นด้วย วิธีป้องกันภาวะเยื่อบุตาอักเสบ วิธีป้องกันโรคเนื้อเยื่อบุตาอักเสบ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้ หมั่นล้างมือด้วยสบู่และน้ำให้สะอาดอยู่เสมอก่อนสัมผัสหรือขยี้ตา หลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยตาแดง และล้างมือทันทีหลังสัมผัส งดใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว หรือหมอน ไม่ใช้มือแคะ แกะ เกา บริเวณดวงตาและใบหน้า หากมีฝุ่นละอองหรือน้ำสกปรกเข้าตา ให้รีบล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที ระวังไม่ให้แมลงหวี่หรือแมลงวันตอมบริเวณดวงตา ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัวอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการว่ายน้ำในช่วงที่มีการระบาดของโรคตาแดง คนกลุ่มไหนมีภาวะเสี่ยงเป็นเยื่อบุตาอักเสบบ้าง? ภาวะเยื่อบุตาอักเสบอาจเกิดได้กับทุกคน แต่จะมีคนบางกลุ่มที่เสี่ยงมากกว่าคนกลุ่มอื่นๆ ดังนี้ เด็กและผู้สูงอายุ เพราะเด็กจะรับเชื้อได้ง่ายจากโรงเรียนซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีคนเยอะ ส่วนผู้สูงอายุมีระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่อ่อนแอกว่า ผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน เช่น ผู้ป่วยไข้หวัด ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายอ่อนแอและเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ผู้ที่ใช้ยาสเตียรอยด์ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายอ่อนแอ ผู้ที่เปลือกตาอักเสบ อาจมีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งทำให้เกิดเยื่อบุตาอักเสบได้ ผู้ที่อยู่ในที่มีคนหนาแน่น เช่น บนรถไฟฟ้า ค่ายทหาร และโรงเรียนประจำ     อาการเยื่อบุตาอักเสบแบบไหนที่ควรพบแพทย์ ควรรีบพบแพทย์หากมีอาการเยื่อบุตาอักเสบดังต่อไปนี้ อาการรุนแรงขึ้นแม้จะรักษาด้วยตัวเองแล้ว ปวดตารุนแรงหรือมองเห็นไม่ชัด ขี้ตามีสีเขียว เหลือง หรือเป็นหนองปริมาณมาก มีไข้ร่วมกับอาการตาแดง ตาบวมผิดปกติหรือมีอาการไวต่อแสงอย่างรุนแรง อย่างไรก็ตาม ควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านดวงตาเพื่อรับการตรวจและรักษาอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ไม่เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายตามมา รักษาเยื่อบุตาอักเสบ ที่ศูนย์รักษาตา Bangkok Eye Hospital ดีอย่างไร หากอาการเยื่อบุตาอักเสบเสี่ยงอันตราย และเข้าขั้นต้องไปพบแพทย์โดยด่วน แนะนำให้เข้ามาปรึกษาและรักษาอาการเหล่านี้ได้ที่ศูนย์รักษาตา Bangkok Eye Hospital (โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ) ที่นี่โดดเด่นด้านการรักษาอาการผิดปกติเกี่ยวกับดวงตา ด้วยทีมบุคลากรมากความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับดวงตา รวมถึงจุดเด่นต่างๆ ดังนี้ โรงพยาบาลมีจักษุแพทย์มากประสบการณ์ พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาการผิดปกติ และแนะนำแนวทางการรักษาที่เหมาะสม เทคโนโลยีสำหรับการรักษาดวงตาสมัยใหม่ เครื่องมือได้มาตรฐานระดับสากล เพื่อการรักษาดวงตาอย่างแม่นยำและปลอดภัย พร้อมให้การรักษาอย่างครบวงจร ตั้งแต่การวินิจฉัย การรักษา ไปจนถึงการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ ใส่ใจในการบริการ พร้อมบรรยากาศของโรงพยาบาลที่เป็นกันเอง สรุป เยื่อบุตาอักเสบคือการอักเสบของเยื่อบางๆ ที่ปกคลุมดวงตาและด้านในของเปลือกตา ซึ่งติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำตาที่ปนเปื้อนเชื้อ ไม่ใช่ผ่านการมอง อากาศ หรืออาหาร มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสที่ทำให้มีไข้ เจ็บคอ หรือเชื้อแบคทีเรีย รวมถึงสารเคมี ฮอร์โมน ภูมิแพ้ฝุ่น PM2.5 และอุปกรณ์ที่ไม่สะอาด การรักษาทำได้โดยหยอดน้ำตาเทียม ใช้ยาตามสาเหตุ พักสายตา งดขยี้ตาและใช้เครื่องสำอาง ส่วนการป้องกันคือล้างมือให้สะอาด หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วย และไม่ใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา สำหรับคนที่มีปัญหาดวงตา แนะนำมาที่Bangkok Eye Hospital (โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ)โรงพยาบาลเฉพาะทางที่มีทีมแพทย์มากประสบการณ์ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล มั่นใจได้ว่าการรักษาเป็นไปอย่างถูกต้อง แม่นยำ และปลอดภัย
Cataract Center
Retina Center
Laser Vision LASIK Centre
Glaucoma Center
Cornea Center
Children's Eye Center
Oculoplastic
Neuro-ophthalmology Center

กระจกตาเป็นฝ้า : สาเหตุ วิธีการรักษา และทางเลือกที่ใช่สำหรับคุณ

กระจกตาเป็นฝ้า สาเหตุ วิธีการรักษา และทางเลือกที่ใช่สำหรับคุณ ณ ศูนย์รักษาโรคกระจกตา โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ กระจกตาเปรียบเสมือนหน้าต่างบานแรกที่แสงจะผ่านเข้าสู่ดวงตา หาก "กระจกตา" เกิดขุ่นมัว การมองเห็นย่อมได้รับผลกระทบ "กระจกตาเป็นฝ้า" เป็นภาวะที่กระจกตาสูญเสียความใส ทำให้มองเห็นภาพมัว ไม่ชัดเจน หรือเห็นภาพซ้อน ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน สาเหตุของกระจกตาเป็นฝ้า กระจกตาเป็นฝ้าอาจเกิดได้จากหลายปัจจัย ได้แก่ การติดเชื้อ เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือไวรัส ซึ่งอาจเกิดจากการใส่คอนแทคเลนส์ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือการบาดเจ็บที่กระจกตา แผลที่กระจกตา เกิดจากการบาดเจ็บ การระคายเคืองจากฝุ่นละออง สารเคมี หรือการติดเชื้อ โรคทางพันธุกรรม เช่น โรคกระจกตาโค้งผิดปกติ (Keratoconus) ทำให้กระจกตาบางและโป่งนูนผิดปกติ ภาวะแทรกซ้อนจากโรคตา เช่น โรคตาอักเสบ การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาสเตียรอยด์หยอดตาเป็นเวลานาน การสัมผัสสารเคมี เช่น สารฟอกขาว กรด ด่าง การขาดวิตามินเอ อาการของกระจกตาเป็นฝ้า มองเห็นภาพมัว อาจเป็นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความขุ่นมัวของกระจกตา เห็นภาพซ้อน ตาแดง ปวดตา เคืองตา น้ำตาไหล แพ้แสง วิธีการรักษากระจกตาเป็นฝ้า การรักษากระจกตาเป็นฝ้าขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรง โดยทั่วไปมีวิธีการรักษาดังนี้ การใช้ยา เช่น ยาหยอดตา ยาป้ายตา เพื่อลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อ หรือรักษาตามสาเหตุ การผ่าตัด การปลูกถ่ายกระจกตา : ในกรณีที่กระจกตาเสียหายมาก การขัดกระจกตาด้วยเลเซอร์ : เช่น PTK การรักษาอื่นๆ เช่น การประคบอุ่น การใส่คอนแทคเลนส์ชนิดพิเศษ ศูนย์รักษาโรคกระจกตา โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ พร้อมดูแลรักษากระจกตาเป็นฝ้าอย่างครบวงจร ด้วย ทีมจักษุแพทย์เฉพาะทางด้านกระจกตา : ประสบการณ์สูง เชี่ยวชาญ พร้อมให้คำปรึกษาและวางแผนการรักษาที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล เทคโนโลยีที่ทันสมัย : เครื่องมือที่ได้มาตรฐานสากล ช่วยในการวินิจฉัยและรักษาอย่างแม่นยำ ปลอดภัย เครื่องตรวจวัดความโค้งของกระจกตา (Corneal Topography) เครื่องตรวจวัดความหนาของกระจกตา (Pachymetry) เลเซอร์ Excimer และ เลเซอร์ Femtosecond การดูแลอย่างครบวงจร : ตั้งแต่การตรวจวินิจฉัย การรักษา การติดตามผล จนกระทั่งหายเป็นปกติ บริการที่สะดวกสบาย : บรรยากาศเป็นกันเอง ใส่ใจทุกขั้นตอน คืนความใสการมองเห็นที่คมชัดให้กับดวงตาที่ศูนย์รักษาโรคกระจกตา โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและนัดหมายแพทย์ได้ที่ 02-511-2111  
Cataract Center
Retina Center
Glaucoma Center
Cornea Center
Children's Eye Center
Oculoplastic
Neuro-ophthalmology Center

รายชื่อบริษัทประกันที่สามารถใช้ได้ที่ รพ.จักษุกรุงเทพ

  บริษัทประกันภัย บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จำกัด มหาชน บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลูม่าแคร์ จำกัด บริษัท บลูเวนเจอร์ ทีพีเอ จำกัด บริษัท เอดับเบิลยู พี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด Asian Assistance (Thailand) Co., Ltd. APRIL Assistance (Thailand) Co., Ltd. International SOS (Thailand) Co., Ltd. Assist International Services Co., Ltd. บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด มหาชน บริษัท ซัมซุงประกันชีวิต(ประเทศไทย) จำกัด มหาชน  บริษัท Euro-Center (Thailand) Co., Ltd. บริษัท เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) Europ Assistance (Thailand) Co., Ltd. Henner-GMC :: สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ::  แผนกประสานสิทธิ์ประกัน 02-511-2111 ต่อ 3803, 3804  UR Nurse 02-511-2111 ต่อ 3805
Cataract Center
Retina Center
Laser Vision LASIK Centre
Glaucoma Center
Cornea Center
Children's Eye Center
Oculoplastic
Neuro-ophthalmology Center

Understanding Pterygium: Causes, Symptoms, and Treatment Options

How people notice and see Pterygium without knowing it is Pterygium Have you ever looked in the mirror and noticed a small, fleshy growth on the white part of your eye, usually near the nose? It might appear slightly red, or you might feel like something’s stuck in your eye. This growth can slowly creep onto the clear, center part of your eye, known as the cornea, causing discomfort, dryness, or even blurred vision. Many people mistake these signs for simple irritation, dryness, or tired eyes, unaware that they might be dealing with a condition called pterygium. 1. What is Pterygium? Pterygium (pronounced tuh-RIJ-ee-um) is a common eye condition that looks like a triangular or wedge-shaped growth on the eye’s surface. It usually starts small but can slowly expand toward the cornea. Though it might look concerning, it’s not cancerous. For some, it’s just a minor cosmetic issue, but for others, it can cause vision problems or significant discomfort. Pinguecula and pterygium are often mistaken for each other. Pinguecula is a yellowish bump on the conjunctiva, while pterygium extends onto the cornea and can affect vision. Proper diagnosis is key. 2. Why does it happen? Pterygium happens mainly due to long-term exposure to UV light from the sun, which is why it’s often called "surfer’s eye." But you don’t have to be a surfer to get it - anyone who spends a lot of time outdoors, especially without proper eye protection, is at risk. Dust, wind, and dry environments can also irritate the eye and contribute to its development. Genetics can play a part, too, as pterygium is more common in certain families. 3. What to do when you notice it? If you spot a growth on your eye or feel persistent discomfort, dryness, or redness, don’t ignore it. Make an appointment with an eye specialist, especially if it’s growing or starting to affect your vision. The doctor can diagnose pterygium with a simple eye exam and discuss whether it needs to be treated right away or monitored over time. 4. Treatment Options ✅Observation and Protection: In mild cases, protecting your eyes from the sun with sunglasses and using lubricating eye drops can help keep symptoms in check. ✅Medication: If the pterygium becomes red and inflamed, doctors may prescribe anti-inflammatory eye drops to reduce irritation.  ✅Surgery: When pterygium grows too large, affects vision, or causes significant discomfort, surgery to remove the growth may be recommended. This involves removing the tissue and often placing a graft (a small piece of your own conjunctiva) to cover the area and reduce the chance of it coming back. 5. Advice from Bangkok Eye Hospital and Next Steps At Bangkok Eye Hospital, our experienced ophthalmologists often see patients who are unsure what’s causing their eye discomfort or unusual growths. It’s essential to address these concerns early to avoid complications. If surgery is necessary, one of the best innovations available today is using fibrin glue during pterygium surgery, which offers many benefits over traditional stitches. To learn more about how fibrin glue can improve your recovery and comfort, check out our next article on this advanced treatment here. If you’re experiencing symptoms or want a consultation, don’t hesitate to reach out to Bangkok Eye Hospital - our team is here to guide you through every step of your eye care journey.

Location

Cornea Center - Bangkok Eye Hospital

10/989 Soi Prasertmanukij 33 Nuanchan Buengkum District Bangkok 10230

calling
Contact Us :